Definify.com
Definition 2024
ปักษา
ปักษา
Thai
Alternative forms
Noun
ปักษา • (bpàk-sǎa)
- (literary, poetic) bird.
- 1798, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, บทละครเรื่องรามเกียรติ์, สมุดไทย เล่ม ๑๘:
- พ่อจะให้ครองสมบัติ สืบวงศ์จักรพรรดินาถา จงตั้งอยู่ในทศธรรมา เป็นตราชูโลกทั้งไตรดาล เจ้าจงเลี้ยงเสนาพลากร ให้ถาวรดั่งร่มพฤกษาศาล เอาความสัตย์สุจริตเป็นประธาน คือรากแก้วกิ่งก้านดอกใบ อันฝูงสัตว์จตุบาททวิบาท จะเกลื่อนกลาดมาพึ่งอาศัย จงเอาเมตตานั้นแผ่ไป ดังกลิ่นดอกไม้อันตระการ จะหอมขจรทุกประเทศ เย็นเกศไปทั่วทิศาศาล ทานนั้นต่างผลโอฬาร หว่านให้บำเหน็จโดยตรา แก่หมู่เสนีรี้พล ประชาชนยาจกถ้วนหน้า ตัดโลภเอาความกรุณา เป็นปัญจมหานัที ไหลมาไม่รู้สุดสิ้น อาบกินเป็นสุขเกษมศรี อย่าเบียดเบียนไพร่ฟ้าประชาชี ให้มีความเดือดร้อนเวทนา น้ำเย็นฝูงปลาก็อาศัย ปักษาพึ่งไม้ใบหนา ป่ากว้างย่อมมีมฤคา พากันมาอยู่สำนัก จงแผ่เดชาวรายศ ให้ปรากฏเกียรติไปทั้งไตรจักร แก่มนุษย์เทวัญคนธรรพ์ยักษ์ ลูกรักจงฟังพ่อสอนไว้
- pɔ̂ɔ jà hâi krɔɔng sǒm-bàt · sʉ̀ʉp wong jàk-grà-pát naa-tǎa · jong dtâng yùu nai tót-sà-tan-maa · bpen dtraa-chuu lôok táng dtrai-daan · jâo jong líiang sěe-naa pá-laa-gɔɔn · hâi tǎa-wɔɔn dàng rôm prʉ́k-sǎa sǎan · ao kwaam-sàt sùt-jà-rìt bpen bprà-taan · kʉʉ râak-gɛ̂ɛo gìng gâan dɔ̀ɔk bai · an fǔung sàt jàt-dtù-bàat tá-wí-bàat · jà glʉ̀ʉan-glàat maa pʉ̂ng aa-sǎi · jong ao mêet-dtaa nán pɛ̀ɛ bpai · dang glìn dɔ̀ɔk-máai an dtrà-gaan · jà hɔ̌ɔm kà-jɔɔn túk bprà-têet · yen gèet bpai tûua tí-sǎa sǎan · taan nán dtàang pǒn oo-laan · wàan hâi bam-nèt dooi dtraa · gɛ̀ɛ mùu sěe-nii ríi-pon · bprà-chaa-chon yaa-jòk tûuan-nâa · dtàt lôop ao kwaam-gà-rú-naa · bpen bpan-jà-má-hǎa-nát-tii · lǎi maa mâi rúu sùt-sîn · àap gin bpen sùk gà-sěem sǐi · yàa bìiat-biian prâi-fáa bprà-chaa-chii · hâi mii kwaam-dʉ̀ʉat-rɔ́ɔn wêet-tá-naa · náam yen fǔung bplaa gɔ̂ɔ aa-sǎi · bpàk-sǎa pʉ̂ng mái bai nǎa · bpàa gwâang yɔ̂ɔm mii má-rʉ́k-kaa · paa gan maa yùu sǎm-nák · jong pɛ̀ɛ dee-chaa wá-raa yót · hâi bpraa-gòt gìiat bpai táng dtrai-jàk · gɛ̀ɛ má-nút tee-wan kon-tan yák · lûuk rák jong fang pɔ̂ɔ sɔ̌ɔn wái
- I shall let you have the sceptre and continue our line of universal rulers and protectors. You shall maintain yourself in the Tenfold Virtue, behaving like a balance that supports all the Three Worlds. You shall always maintain your officers, either civil and military, like a large tree that expands its shade over everyone. You shall take honesty as your guiding principle. You shall be like a tap root, a branch, a stalk, a flower, or a leaf under which all creatures, whether two-footed or four footed, may come and rest. Let your kindness spread like the flagrance of a flower that goes through every region and pleases every living being in all directions. Donations are on a par with immensely productive seeds: sow them over all your civil and military servants, as well as your people and mendicants, without exception. Avoid greed, uphold grace, like the Five Great Rivers which endlessly flow in and give pleasure in drinking and bathing. Never shall you oppress your people or subject them unto trouble or suffering. You shall be like a cool body of water where fish may dwell, a dense collection of trees where birds may reside, and a vast forest where deers may live in. Let your authority and dignity be evident to all men, gods, demigods, and demons across the Three Realms. My dearest son, listen well to these instructions of mine.
- พ่อจะให้ครองสมบัติ สืบวงศ์จักรพรรดินาถา จงตั้งอยู่ในทศธรรมา เป็นตราชูโลกทั้งไตรดาล เจ้าจงเลี้ยงเสนาพลากร ให้ถาวรดั่งร่มพฤกษาศาล เอาความสัตย์สุจริตเป็นประธาน คือรากแก้วกิ่งก้านดอกใบ อันฝูงสัตว์จตุบาททวิบาท จะเกลื่อนกลาดมาพึ่งอาศัย จงเอาเมตตานั้นแผ่ไป ดังกลิ่นดอกไม้อันตระการ จะหอมขจรทุกประเทศ เย็นเกศไปทั่วทิศาศาล ทานนั้นต่างผลโอฬาร หว่านให้บำเหน็จโดยตรา แก่หมู่เสนีรี้พล ประชาชนยาจกถ้วนหน้า ตัดโลภเอาความกรุณา เป็นปัญจมหานัที ไหลมาไม่รู้สุดสิ้น อาบกินเป็นสุขเกษมศรี อย่าเบียดเบียนไพร่ฟ้าประชาชี ให้มีความเดือดร้อนเวทนา น้ำเย็นฝูงปลาก็อาศัย ปักษาพึ่งไม้ใบหนา ป่ากว้างย่อมมีมฤคา พากันมาอยู่สำนัก จงแผ่เดชาวรายศ ให้ปรากฏเกียรติไปทั้งไตรจักร แก่มนุษย์เทวัญคนธรรพ์ยักษ์ ลูกรักจงฟังพ่อสอนไว้
- 1798, พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, บทละครเรื่องรามเกียรติ์, สมุดไทย เล่ม ๑๘: